องค์การบริหารส่วนตำบลตระแสง ได้ดำเนินการปรับปรุงหมายเลขโทรศัพท์ที่ใช้ติดต่อราชการ ดังต่อไปนี้***********หมายเลขโทรศัพท์สำนักงาน 0 4451 3515 **********หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อส่วนราชการโดยตรง **********สำนักปลัด อบต. 0 4451 3519 **********กองคลัง 0 4451 3520 **********กองช่าง 0 4451 3521 **********กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 0 4451 3522 **********งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 0 4451 3523 **********ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 0 4451 3524 **********นายกองค์การบริหารส่วนตำบล 0 4451 3525  
 
 
ตราสัญลักษณ์
วิสัยทัศน์
สภาพทั่วไป
บริการขั้นพื้นฐาน
สภาพทางสังคม
สภาพทางเศรษฐกิจ
บทบาท อำนาจหน้าที่ อบต.
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Privacy Policy)
 
โครงสร้าง อบต.ตระแสง
คณะผู้บริหารท้องถิ่น
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
หัวหน้าส่วนราชการ (ข้าราชการประจำ)
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
กองคลัง
กองช่าง
กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วยตรวจสอบภายใน
 
  ข่าวประชาสัมพันธ์
  ศูนย์ดำรงธรรม
  กองทุนหลักประกันสุขภาพ
  เบี้ยผู้สูงอายุ
  แบบสอบถามความพึงพอใจ
  ภาพกิจกรรม
 กิจการสภา อบต.
 ศูนย์ยุติธรรมชุมชนตระแสง
 ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน-ร้องทุกข์
 ข้อมูลโรค COVID -19 จังหวัดสุรินทร์
 ศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตรอินทรีย์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 ฐานข้อมูลตลาด
 ศูนย์ข้อมูลสำหรับนักท่องเที่ยว
 การสอบสวนและลงโทษทางวินัย
 ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับติดต่อองค์การบริหารส่วนตำบลตระแสง พ.ศ. 2566
 ผลการประเมิน LPA
 ผลการประเมิน ITA
 ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
 ผลการประเมินมาตรฐานขั้นต่ำการจัดบริการสาธารณะของ อบต.ตระแสง
 การดำเนินงานของหน่วยตรวจสอบภายใน
 
  แผนยุทธศาสตร์
  การดำเนินงาน
  แผนดำเนินงานประจำปี
  รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน
  รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
 แผนพัฒนาท้องถิ่น
 แผนพัฒนาสามปี
 รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ
 แผนการดำเนินงาน
 รายงานผลการดำเนินงาน
 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน
 
การปฏิบัติงาน
  มาตรฐานการปฏิบัติงาน
 
การให้บริการ
  ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
  มาตรฐานการให้บริการ
  รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
 การจัดการองค์ความรู้
 ระบบสารสนเทศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
 ระบบจองคิวออนไลน์
 ช่องทางรับฟังความคิดเห็นต่อการดำเนินงานของ อบต.ตระแสง
 สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ อบต.ตระแสง
 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์: saraban@trasang.go.th
 
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
  ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
  แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
  รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ รอบ 6 เดือน
  รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
 รายงานของผู้สอบบัญชีและรายงานการเงิน
 รายงานแสดงผลการดำเนินงานรายไตรมาส
 
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
  แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
  ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
  ผลประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง
  สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
  รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
 การจัดสรรการจัดซื้อจัดจ้าง 014
 สรุปรายงานการจัดซื้อจัดจ้าง 016
 รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง 017
 
  นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
  การดำเนินการตามนโยบายการบริหาร ทรัพยากรบุคคล
  แผนอัตรากำลัง
  หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
 
การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ
  แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
  ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
  ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ  
 
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
  การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น  
 
การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
  นโยบายไม่รับของขวัญ (์No Gift Policy)
  การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
 
การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต
  การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี
  การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ
 
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
  การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรตามมาตรฐานทางจริยธรรม
 
แผนป้องกันการทุจริต
  แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
  รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีรอบ 6 เดือน
  รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
 
มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
  มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
  การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
 
  พ.ร.บ./พ.ร.ก.
  กฎกระทรวง/ระเบียบฯ
  ระเบียบกฏหมายอื่นๆ
 กฎหมาย ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ อปท.
 
 
แบบสำรวจความคิดเห็น
ท่านต้องการให้ อบต. พัฒนาในส่วนใดมากที่สุด
ด้านการคมนาคม
ด้านการประชาสัมพันธ์ข้อมูล
ด้านการส่งเสริมอาชีพในตำบล
ด้านระบบอินเตอร์เน็ตตำบล
ด้านระบบสาธารณูปโภค
 
 
 
 
 
 
บทบาท อำนาจหน้าที่ อบต.
_______________________________________________________________________________________
บทบาท อำนาจหน้าที่ อบต.
 

อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย (Authority)

1 อำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562

     (1) พัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา 66)

     (2) มีหน้าที่ต้องทำตามมาตรา 67 ดังนี้

          - จัดให้มีและบำรุงทางน้ำและทางบก

          - การรักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดินและที่สาธารณะ รวมทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

          - ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ

          - ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

          - ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาเละวัฒนธรรม

          - ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุและพิการ

          - คุ้มครอง ดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

          - บำรุงรักษ์ศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น

          - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบมาย โดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจำเป็นและสมควร

     (3) มีหน้าที่ที่อาจทำกิจกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา 68 ดังนี้

          - ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคและการเกษตร

          - ให้มีและบำรุงไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น

          - ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ

          - ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ

          - ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และกิจการสหกรณ์

          - ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว

          - บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพ

          - การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน

          - หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล

          - ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม

          - กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์

          - การท่องเที่ยว

          - การผังเมือง

2. อำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองตามมาตรา 16 ดังนี้

                   (1)  การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
                   (2)  การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และทางระบายน้ำ
                   (3)  การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้ามและที่จอดรถ

                   (4)  การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ
                   (5)  การสาธารณูปการ
                   (6)  การส่งเสริม การฝึก และการประกอบอาชีพ
                   (7)  การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน
                   (8)  การส่งเสริมการท่องเที่ยว
                   (9)  การจัดการศึกษา
                   (10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
                   (11) การบำรุงรักษาศิลปะจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
                   (12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
                   (13) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
                   (14) การส่งเสริมกีฬา
                   (15) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
                   (16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
                   (17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
                   (18) การกำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย
                   (19) การสาธารณะสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
                   (20) การจัดให้มีและควบคุมสุสาน และฌาปนสถาน
                   (21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
                   (22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
                   (23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัยโรงมหรสพและสาธารณสถานอื่นๆ
                   (24) การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                   (25) การผังเมือง
                   (26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
                   (27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ
                   (28) การควบคุมอาคาร
                   (29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
                   (30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
                   (31) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด

3.อำนาจหน้าที่และพันธกิจที่ต้องปฏิบัติตามนโยบายรัฐบาล
                (1) แก้ไขปัญหาความยากจนและกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม

                (2) ต้องพัฒนาทุนทางสังคมมีความแข็งแรงและยั่งยืน
                (3) ต้องเพิ่มสมรรถนะให้ประเทศไทย พร้อมสำหรับการแข่งขัน
                (4) การพัฒนาที่ยั่งยืน

                   การบริหารราชการขององค์การบริหารส่วนตำบลตระแสง จะต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนในท้องถิ่น เกิดผลสัมฤทธิ์เป็นไปตามภารกิจอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตระแสง มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่า ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน อำนวยความสะดวก และตอบสนองต่อความของการของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบผลของงานในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี  โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบ ของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูลการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงานตามความเหมาะสม

 
 
 
อบต.ตระแสง อ.เมืองสุรินทร์ จ.สุรินทร์ โทร 044 513515 โทรสาร 044 546328
การแสดงผลบนหน้าเว็บไซต์จะสมบูรณ์ที่สุดในระบบ Google Chrome, Mozilla Firefox, Microsoft Internet Explorer 8 ขึ้นไป
สงวนลิขสิทธิ์ © โดย MediaCreativeCenter 08-7776-6615
หน้าแรก  I  สถานที่สำคัญ  I  ผลิตภัณฑ์ตำบล  I  กระดานถาม-ตอบ  I  แผนผังเว็บไซต์  I  ติดต่ออบต.